การเตรียมความพร้อมแพทย์สาธารณะสุข่


ระยะก่อนเกิดภัย
ขณะเกิดภัย
หลังเกิดภัย
มีข้อมูล พื้นที่เสี่ยง / ช่วงระยะเวลาเกิดภัย / ขั้นตอนการเกิดภัย
- มีข้อมูลทีมบุคลากร / หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง
- เตรียมความพร้อมระบบสื่อสาร
-ข้อมูลวิชาการ / การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์แก่ประชาชน/ มาตรการควบคุมลดผลกระทบ
- จัดทีมพร้อมฝึกซ้อม แผนสถานการณ์ต่างๆอย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี
- การจัดให้ภูมิคุ้มกัน และการป้องกันโรคแก่ทีมช่วยเหลือ เช่น วัคซีนไข้หวัดนก
- เตรียมความพร้อมเวชภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์ ให้มีเพียงพอพร้อมใช้ในภาวะฉุกเฉิน
- จัดให้มีชุดป้องกันสำหรับทีมช่วยเหลือ ผู้ประสบภัย (การช่วยเหลือผู้ประสบภัยเจ้าหน้าที่ ที่เข้าปฏิบัติการต้องคำนึงถึง ความปลอดภัยของตนเองเป็นอันดับแรก ที่จะเข้าช่วยเหลือผู้ประสบภัย) -อุปกรณ์ให้มีเพียงพอพร้อมใช้ในภาวะฉุกเฉิน  
ประเมินสถานการณ์ให้การช่วยเหลือเบื้องต้น
- จะดำเนินการเรื่องใด / พื้นที่ได้รับผลกระทบ / จำนวนผู้ได้รับผลกระทบ / โครงสร้างสาธารณูปโภค ใดได้รับผลกระทบ
- ส้นทางอพยพช่วยเหลือ (***พื้นที่ปลอดภัย***)
- สถานบริการสุขภาพที่สามารถช่วยเหลือได้
- สภาพดินฟ้าอากาศมีผลกระทบหรือไม่ -มีหน่วยงานใดที่เข้าให้การช่วยเหลือ แล้วมีการสื่อสารถึงกันหรือไม่ ประสานทีมและจัดอุปกรณ์ช่วยเหลือ -ผู้สั่งการในพื้นที่(Field Commander) –ทีมกู้ภัย/ทีมแพทย์/พยาบาล -ทีมช่วยเหลือด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม/ควบคุมโรค / จิตวิทยา / อาสาสมัคร นำหน่วยปฏิบัติการเข้าช่วยเหลือ -หน่วยปฏิบัติการด้านสาธารณสุขระดับพื้นที่ ระดับจังหวัด ทีมจากส่วนกลาง -หน่วยปฏิบัติงานสาธารณสุขเคลื่อนที่ 1.หน่วยสาธารณสุขเคลื่อนที่เร็ว 2.หน่วยแพทย์เคลื่อนที่ 3.หน่วยสุขศึกษาประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ 4.หน่วยควบคุมโรคติดต่อและอนามัยสิ่งแวดล้อม 5.หน่วยส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสุขภาพกาย และใจ
- การ Clean up 1.ข้อปฏิบัติด้านสุขภาพ 2.ข้อควรระวัง 3.อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลและเสื้อผ้าที่ใช้ 4.การป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า 5.การป้องกันอันตรายจากอัคคีภัย
-ทำการควบคุมโรค และการอนามัยสิ่งแวดล้อม
-จัดระบบการเฝ้าระวังโรคอย่างต่อเนื่อง -ดำเนินการฟื้นฟูด้านจิตใจ -สรุป/ประเมินผลการดำเนินงาน